วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558
MY LOGO
โลโก้นี้เป็นโลโก้ที่มีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วน คือ
1.ตัวอักษรS คือชื่อตัวย่อของผู้จัดทำ
2.ดาวเป็นสัญลักษณ์ตัว แห่งความดี ความงาม ประสบความสำเร็จ และความเจริญรุ่งเรือง
สีหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
สีเขียว หมายถึง ความสงบร่มเย็น เป็นสุข
วันอังคารที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2558
รีทัชภาพด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop cs4
มีขั้นตอนดังนี้
1.เปิดรูปภาพที่เราต้องการจะรีทัชขึ้นมา
2.เริ่มด้วยการรีทัชลบริ้วรอยต่างๆ ไปคลิกที่เครื่องมือ Patch Tool (รูปพลาสเตอร์) ลากเป็นรูปวงกลมบริเวณที่ต้องการลบริ้วรอย เมื่อเส้นมาบรรจบกันพอดีจะกลายเป็นเส้นประ เลื่อนเคอร์เซอร์ไปไว้ในวงกลม คลิกค้างแล้วลากไปในบริเวณที่ผิวเรียบเนียน
3.ต่อไปคือการเปลี่ยนสีส่วนต่างๆ คลิกที่เครื่องมือ Magnetic Lasso Tool แล้วลากไปตามแนวบริเวณที่ต้องการเปลี่ยนเฉดสี ลากให้บรรจบกันแล้วกลายเป็นเส้นประ
4.คลิกที่ Image > Adjustments > Hue/Saturation คลิกทำเครื่องหมายที่ Colorize ปรับเฉดสีได้ตามใจชอบในทุกส่วนที่ต้องการ
วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
การสร้างหยดน้ำด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop cs4
มีขั้นตอนดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Adobe Photoshop cs4 ขึ้นมาแล้วคลิก open รูปที่ต้องการเพิ่มหยดน้ำขึ้นมา
2.ดับเบิ้ลคลิกไปที่เลเยอร์ กด Ok ที่ป็อปอัพเพื่อปลดล็อคเลเยอร์ คลิกที่ create a new layer (สี่เหลี่ยมซ้อนกัน) ที่อยู่ข้างๆ Delete layer
3.คลิกเลือก Elliptical Marquee Tool (วงกลมเส้นประ) ลากลงไปที่พื้นที่ที่เราต้องการสร้างหยดน้ำ
1. เปิดโปรแกรม Adobe Photoshop cs4 ขึ้นมาแล้วคลิก open รูปที่ต้องการเพิ่มหยดน้ำขึ้นมา
2.ดับเบิ้ลคลิกไปที่เลเยอร์ กด Ok ที่ป็อปอัพเพื่อปลดล็อคเลเยอร์ คลิกที่ create a new layer (สี่เหลี่ยมซ้อนกัน) ที่อยู่ข้างๆ Delete layer
3.คลิกเลือก Elliptical Marquee Tool (วงกลมเส้นประ) ลากลงไปที่พื้นที่ที่เราต้องการสร้างหยดน้ำ
4.เลือก Gradient Tool (สี่เหลี่ยมไล่สีขาว-ดำ) ตั้งค่าที่แถบด้านบนเป็นช่องที่ 3
5.ไปดับเบิลคลิกที่ Layer จะมีหน้าต่าง Layer Style ขึ้นมาให้เราปรับค่าต่างๆ ปรับ Blend Mode ให้เป็น Overlay เปลี่ยนค่า Opacity ได้ตามต้องการ สามารถเลือก Drop shadow หรือ Inner shadow ได้
6.ปรับแต่งหยดน้ำด้วย Eraser Tool (เครื่องมือรูปยางลบ) ได้ตามต้องการ...
5.ไปดับเบิลคลิกที่ Layer จะมีหน้าต่าง Layer Style ขึ้นมาให้เราปรับค่าต่างๆ ปรับ Blend Mode ให้เป็น Overlay เปลี่ยนค่า Opacity ได้ตามต้องการ สามารถเลือก Drop shadow หรือ Inner shadow ได้
6.ปรับแต่งหยดน้ำด้วย Eraser Tool (เครื่องมือรูปยางลบ) ได้ตามต้องการ...
วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
การเปลี่ยนภาพพื้นหลัง
ขั้นตอนหลักในการตัดต่อภาพ
1. เปิดไฟล์รูปภาพที่ต้องการ
2. สร้าง Selection ให้กับภาพโดยใช้เครื่องมือ Lasso Tool
2. สร้าง Selection ให้กับภาพโดยใช้เครื่องมือ Lasso Tool
3. เลือกคำสั่ง Select > Modify > Feather
4. กำหนดความฟุ้งกระจายของขอบเป็น 2
pixels
5. เปิดไฟล์พื้นหลังขึ้นมา
6. เลือกเครื่องมือ Move Tool
6. เลือกเครื่องมือ Move Tool
7. คลิกเมาส์ค้างรูปแล้วลากไปที่พื้นหลัง
8. ปล่อยเมาส์ในตำแหน่งที่ต้องการ
9. ถ้าภาพที่วางมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป เราสามารถปรับขนาดได้ โดยคลิกที่เมนู
คำสั่ง Edit > Free Transform
10. ปรับขนาดภาพตามต้องการ
11. กดปุ่ม Enter
8. ปล่อยเมาส์ในตำแหน่งที่ต้องการ
9. ถ้าภาพที่วางมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป เราสามารถปรับขนาดได้ โดยคลิกที่เมนู
คำสั่ง Edit > Free Transform
10. ปรับขนาดภาพตามต้องการ
11. กดปุ่ม Enter
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2558
ส่วนประกอบของโปรแกรม Adobe Photoshop CS4
หมายเลข 2 กล่องเครื่องมือ (Toolbox) คือ กล่องที่โปรแกรมใช้เก็บเครื่องมือสำหรับตกแต่งภาพเอาไว้ โดยเครื่องมือในกล่องนี้จะถูกแยกออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทำงาน เช่น ดินสอ พู่กัน หรืองยางลบ เป็นต้น ซึ่งกล่องเครื่องมือนี้เป็นสิ่งที่จำเป็น ขาดไม่ได้ และถูกใช้งานบ่อยที่สุด โดยทั่วไปแล้ว กล่องเครื่องมือนี้จะมีส่วนคล้ายกับรุ่นก่อนหน้านี้พอสมควร และในกรณีที่เกิดการบดบังพื้นที่งาน ลูกศรคู่ด้านซ้ายมือของแถบสีดำนี้มีไว้เพื่อเปลี่ยนการแสดงปุ่มเครื่องมือ จากแถวคู่ให้เป็นแถวเรียงเดี่ยว เพื่อเพิ่มพื้นที่หน้าต่างให้กว้างขึ้น การเลือกใช้เครื่องมือชนิดต่างๆก็ทำด้วยการคลิกที่ปุ่มนั้นๆ ส่วนลูกศรสีดำเล็กๆตรงมุมขวาด้านล่างของปุ่มเครื่องมือจะมีเครื่องมือต่าง ชนิดซ่อนอยู่ การเรียกใช้ก็คลิกเมาส์ที่ลูกศรค้างไว้แล้วเลื่อนเม้าไปเลือกเครื่องมือที่ ต้องการแล้วปล่อยเมาส์ เครื่องมือบางชนิดต้องใช้ควบคู่ไปกับคีย์บอร์ดด้วยถึงจะใช้งานได้ เช่น Clone stamp tool ต้องใช้คู่กับ Alt เป็นต้น
หมายเลข 3 พื้นที่การทำงานและกระดาษวาดภาพ (Canvas) ในตอนเริ่มต้นจะเป็นพื้นที่ว่างๆ ต้องใช้คำสั่งเปิดภาพขึ้นมาก่อน หลังจากเปิดภาพขึ้นมาแล้ว บริเวรนี้จะกลายเป็นพื้นที่สำหรับตกแต่งภาพภาพที่เลือกเปิดจะมาปรากฏ บนกระดานวาดภาพและสามารถย้ายตำแหน่งไปมาหรือขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นภายในพื้นที่ทำงานได้
หมายเลข 4 ชุดพาเลท (Palettes) คือ กลุ่มของหน้าต่างที่ช่วยควบคุมรายละเอียดปลีกย่อยในขั้นตอนการทำงาน เช่น พาเลท History ที่ช่วยบันทึกขั้นตอนการตกแต่งภาพเอาไว้สำหรับกลับมาแก้ไข หรือพาเลท Navigator สำหรับควบคุมการซูมภาพ ตรงส่วนนี้เราสามารถที่จะเพิ่ม/ลบ พาเลทได้ที่ เมนูบาร์ ในชื่อ Windows แล้วให้ติ้กเลือกตามความต้องการว่า จะให้แสดงพาเลทใดบ้าง เช่น พาเลทของฟอนต์หรือแบบอักษร พาเลทภาพสามมิติ พาเลทแอคชันและอื่นๆ เป็นต้น การเปิด Palette ใหม่ก็ด้วยการคลิกคำสั่ง Window ที่ Menu bar แล้วเลือกเปิด Pallet ที่ต้องการ Palette ใหม่จะไม่รวมกลุ่มกับของที่เปิดไว้ก่อนหน้านี้แล้ว ถ้าอยากจัดเก็บให้เข้ากลุ่มก็ทำได้ด้วยการ คลิกที่ Tab ของหัวข้อ แล้วลากไปวางไว้ในกลุ่มที่มีอยู่ก่อนแล้วจึงค่อยปล่อยเมาส์ การปิด Palette ใด Palette หนึ่ง ก็ให้คลิกที่ Tab ของหัวข้อ แล้วลาก Palette นั้นออกมา แล้วคลิกที่ กากบาท x ที่อยู่มุมบนขวาเพื่อทำการปิด ลูกศรคู่สีเทาบนแถบสีดำบนสุดของ Palette มีไว้เพื่อย่อให้ Palette มีขนาดเล็กลง เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการทำงาน ส่วนลูกศรสีดำหันหัวลงด้านล่างและมีขีดสี่เส้นอยู่ด้านขวามีไว้เพื่อเปิด เลือกคำสั่งการใช้งานต่างๆ ที่เป็นคำสั่งในส่วนของ Layer
วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
ชื่อภาพ ธรรมชาติที่เราสร้างขึ้น
โจทย์คือ มีของ 12 อย่างให้เราวาดรูปมี ต้นไม้ เครื่องซักผ้า น้ำผุ แอร์ ตู้เย็น พัดลม ปากกา ทีวี ไมโครเวฟ โทรศัพท์ รถและนาฬิกาให้เราวาดรูปรูปนี้แสดงถึงมลภาวะที่เกิดจากมนุษย์ที่ทุกวันนี้จะทำลายธรรมชาติที่อยู่รอบตัวเราถึงเวลาที่เราควรจะดูแลโลกของเราแล้วครับ/ค่ะ.
1.นายสถิตย์ เอี่ยมสำอางค์ ม.6/4 เลขที่ 7
2.นางสาวศดานันท์ มีสวัสดิ์ ม.6/4 เลขที่ 30
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)